พลังงานน้ำ

Hydro Power


รวบรวมบทความเกี่ยวกับการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานน้ำ รวมถึงเขื่อนต่างๆ ในประเทศไทย

เขื่อนปากมูล

/
เขื่อนปากมูลมีลักษณะเป็นเขื่อนทดน้ำไม่ใช่เขื่อนเก็บกักน้ำด้วยความสูงเพียง 17 เมตร เมื่อกักน้ำไว้ ระดับน้ำในแม่น้ำมูลจะสูงขึ้น ในสภาพน้ำเต็มตลิ่ง เป็นการใช้ความจุของลําน้ำเดิมเท่านั้นที่ตั้ง เขื่อนปากมูลสร้างปิดกั้นแม่น้ำมูลที่บ้านหัวเห่ว อําเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ห่างจากตัวจังหวัดไปตามลําน้ำประมาณ 82.5 กิโลเมตร ห่างจากปากแม่น้ำมูลที่ไหลลงแม่น้ำโขงประมาณ 6 กิโลเมตร

โรงไฟฟ้าพลังน้ำลําตะคองแบบสูบกลับ จังหวัดนครราชสีมา

/
โรงไฟฟ้าพลังน้ำ ลําตะคองแบบสูบกลับ จังหวัดนครราชสีมาของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) เป็นโรงไฟฟ้า ที่นําพลังงานไฟฟ้าส่วนที่เกินจากการผลิตของโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนในช่วงเวลาที่มีการใช้ไฟฟ้าน้อย คือช่วงหลังเที่ยงคืนจนถึงเช้ามาสูบน้ำจากอ่างเก็บน้ําลําตะคองที่มีอยู่เดิมแล้ว ไปพักไว้ในอ่างพักน้ําที่สร้างขึ้นใหม่บนเขา แล้วปล่อยย้ำลงมาผ่านเครื่องกําเนิดไฟฟ้า เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าในช่วงที่มีความต้องการใช้ไฟฟ้าสูง ช่วยเสริมระบบไฟฟ้าให้เพียงพอและมั่นคงยิ่งขึ้น

ขนาดของโรงไฟฟ้าพลังงานน้ำ

/
ขนาดของโรงไฟฟ้าพลังงานน้ำ แบ่งออกเป็น 3 ขนาด ได้แก่โรงไฟฟ้าพลังน้ำขนาดใหญ่ (Large hydroelectric power plant)โรงไฟฟ้าพลังนํ้าขนาดเล็ก (Small hydroelectric power plant, mini hydroelectric power plant)โรงไฟฟ้าพลังนํ้าขนาดจิ๋ว (Micro hydroelectric power plant)

องค์ประกอบของโรงไฟฟ้าพลังน้ำ (Hydroelectric Power Plant Configurations)

/
โรงไฟฟ้าพลังน้ำ (Hydroelectric Power Plant Configurations)องค์ประกอบในส่วนต่าง ๆ ของโรงไฟฟ้าพลังงานน้ำ ซึ่งมีส่วนประกอบที่สำคัญดังนี้คลองส่งน้ำ

เขื่อนจุฬาภรณ์ (เขื่อนน้ำพรม)

/
เขื่อนจุฬาภรณ์ มีลักษณะเป็นแบบหินถม แกนกลางเป็นดินเหนียวบดอัดทับแน่นด้วยหินและกรวดตัว เขื่อนยาว 700 เมตร สันเขื่อนกว้าง 8 เมตร สูง 70 เมตร ระดับสันเขื่อนอยู่ที่ + 763.0 เมตร เหนือระดับน้ำทะเลปานกลาง อ่างเก็บน้ำมีความจุ 188 ล้านลูกบาศก์เมตร

เขื่อนรัชชประภา

/
เขื่อนรัชชประภา มีชื่อเรียกดั้งเดิมว่า เขื่อนเชี่ยวหลาน เป็นเขื่อนอเนกประสงค์แห่งที่สองของภาคใต้อยู่ในจังหวัดสุราษฏร์ธานี เมื่อก่อสร้างแล้วเสร็จได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานนามให้ใหม่ว่า “เขื่อนรัชชประภา” มีความหมายว่า “แสงสว่างแห่งราชอาณาจักร”

เขื่อนน้ำพุง

/
เขื่อนน้ำพุง ตั้งอยู่บริเวณน้ำตกคําเพิ่มใกล้ทางหลวงสายสกลนคร-กาฬสินธุ์ เขตอําเภอกุดบาก จังหวัดสกลนคร ห่างจากตัวเมืองไปทางทิศตะวันเฉียงใต้ประมาณ 31 กิโลเมตร

เขื่อนแม่งัดสมบูรณ์ชล

/
เขื่อนแม่งัดสมบูรณ์ชล เป็นเขื่อนดินถม สูง 59 เมตร ยาว 1,950 เมตร อ่างเก็บน้ํามีพื้นที่ 16 ตารางกิโลเมตร สามารถเก็บกักน้ำได้สูงสุด 265 ล้านลูกบาศก์เมตรเริ่มก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2520 โดยกรมชลประทาน การก่อสร้างตัวเขื่อนแล้วเสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2527

เขื่อนแก่งกระจาน

/
เขื่อนแก่งกระจาน เป็นเขื่อนดิน สูง 58 เมตร สันเขื่อนยาว760 เมตร กว้าง 8 เมตร ระดับสันเขื่อน 106 เมตร ทก. (ระดับน้ําทะเลปานกลาง) นอกจากนี้ ยังมีเขื่อนดินปิดเขาต่ําทางขวางเขื่อนอีก 2 แห่ง คือ แห่ง แรกสูง 36 เมตร สันเขื่อนยาว 305 เมตร

พลังงานน้ำ การเคลื่อนไหวที่ไม่มีวันสิ้นสุด – iEnergyGuru

/
โรงไฟฟ้า พลังงานน้ำ มีอยู่ด้วยกันหลายประเภทดังนี้โรงไฟฟ้าแบบสูบนํ้ากลับ (Pumped storage hydroplant) โรงไฟฟ้าแบบสูบน้ำกลับเป็นโรงไฟฟ้าที่สามารถสูบนํ้าที่ปล่อยจากอ่างเก็บนํ้าลงมาโรงไฟฟ้าแบบมีอ่างเก็บน้ำขนาดเล็ก (Regulating pond hydro plant)

เขื่อนภูมิพล เขื่อนอเนกประสงค์แห่งแรกของประเทศไทย

/
เขื่อนภูมิพล (BHUMIPOL DAM)เป็นเขื่อนคอนกรีตโค้งเพียงแห่งเดียวของประเทศไทย สร้างปิดกั้นลำน้ำปิงที่บริเวณ เขาแก้ว อำเภอสามเงา จังหวัดตาก มีรัศมีความโค้ง 250 เมตร สูง 154 เมตร ยาว 486 เมตร ความกว้างของสันเขื่อน 6 เมตร อ่างเก็บน้้ามีความจุสูงสุด 13,462 ล้านลูกบาศก์เมตร

เขื่อนบางลาง (Banglang Dam)

/
เขื่อนบางลาง (Banglang Dam)กั้นแม่น้ำปัตตานีที่บริเวณบ้านบางลาง ตำบลเขื่อนบางลาง อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา ห่างจากตัวอำเภอเมือง 58 กิโลเมตร ตัวเขื่อนเป็นเขื่อนหินถมแกนดินเหนียว มีความสูง 85 เมตร สันเขื่อนยาว 430 เมตร กว้าง 10 เมตรอ่างเก็บน้ำมีความจุ 1,420 ล้านลูกบาศก์เมตร พื้นที่รับน้ำเหนือเขื่อน 2,080 ตารางกิโลเมตร

เขื่อน...แหล่งกักเก็บพลังงานน้ำ

/
เขื่อน แหล่งกักเก็บพลังงานน้ำ เป็นสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่สำหรับกั้นทางนํ้าซึ่งเป็นต้นนํ้า ทำให้นํ้าถูกสะสม และกักเก็บไว้ในอ่างเก็บนํ้าเหนือเขื่อน ใช้การควบคุมการระบายนํ้าในอ่างเก็บนํ้าเหนือเขื่อนเพื่อป้องกันอุทกภัยและเพื่อการชลประทาน ใช้ประโยชน์จากพลังนํ้าเหนือเขื่อนผลิตกระแสไฟฟ้า ระดับนํ้าเหนือเขื่อนต้องอยู่ตํ่ากว่าสันเขื่อนเสมอ ถ้าปริมาณนํ้าเหนือเขื่อนมากเกินกว่าที่ออกแบบไว้จะถูกระบายออกไปตามทางนํ้าล้นยังฝั่งท้ายนํ้าเพื่อควบคุมปริมาณและเพื่อความปลอดภัย จำแนกชนิดของเขื่อนตามชนิดของวัสดุก่อสร้าง ได้แก่ เขื่อนหินทิ้ง เขื่อนดินเขื่อนคอนกรีตแบบถ่วงนํ้าหนัก เขื่อนคอนกรีตแบบโค้ง และเขื่อนกลวงหรือเขื่อนครีบ โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้