
Electrical Power Generation
0 Comments
/
กำเนิดไฟฟ้า มนุษย์เริ่มค้นพบประจุไฟฟ้าจากการนำเอาแท่งอำพันมาถูกับขนสัตว์ทำให้เกิดประกายไฟ นอกจากนี้เริ่มมีการสังเกตจากการหวีผม ซึ่งขณะที่หวีผมนั้นเกิดการดูดเส้นผมเสมือนมีประจุไฟฟ้าเกิดขึ้น มนุษย์เริ่มคุ้นเคยและรู้จักการนำไฟฟ้ามาใช้ประโยชน์เมื่อราวปี พ.ศ. 2397 โดยนักวิทยาศาสตร์ชื่อ ไฮน์ริส เกอบเบิล

การปรับปรุงค่าเพาเวอร์แฟกเตอร์ (Power factor improvement)
การปรับปรุงค่าเพาเวอร์แฟกเตอร์ ตามที่หลายท่านทราบแล้วว่าการปรับปรุงเพาเวอร์แฟคเตอร์ของระบบจ่ายไฟฟ้านั้นมีผลดีมากมาย คุ้มค่าในการลงทุนที่จะดำเนินการปรับปรุงค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ให้เหมาะสมโดยมีแนวทางดำเนินการ

Design of power system (การออกแบบระบบไฟฟ้ากำลัง)
power system การอนุรักษ์พลังงานของระบบไฟฟ้า (power system) จะขึ้นอยู่กับการออกแบบ การจัดการการใช้งานก็มีบทบาทที่สำคัญเช่นกัน การจัดการพลังงานของระบบไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิผลจะต้องเข้าใจหลักการ ของการอนุรักษ์พลังงานตามเจตนารมณ์ของผู้ออกแบบ แล้วนำมาปฏิบัติในการจัดการการใช้งาน

ค่าเพาเวอร์แฟกเตอร์ (Power factor)
ค่าเพาเวอร์แฟกเตอร์ (Power factor)ในระบบจ่ายไฟฟ้ากำลังนั้นค่าเพาเวอร์แฟกเตอร์มีส่วนสำคัญอย่างยิ่ง แต่มีหลายครั้งที่ผู้ที่เกี่ยวข้อง ทั้งผู้ออกแบบระบบหรือผู้รับผิดชอบในการจ่ายไฟฟ้า อาจไม่ให้ความสำคัญมากนัก บทความนี้จะกล่าวถึงองค์ประกอบและการผลดีของการปรับปรุงเพาเวอร์แฟกเตอร์ให้มีค่าที่เหมาะสมกัน

Power distribution system: ระบบการจ่ายกำลังไฟฟ้า
ระบบจ่ายไฟฟ้า เริ่มจากสถานีย่อยซึ่งมีสายไฟหลายเส้นต่อผ่านเซอร์กิตเบรกเกอร์ออกมาสู่ลูกค้าที่บริเวณต่างๆ สายจ่ายไฟจะต่อเข้ากับอุปกรณ์รับไฟฟ้าของโรงงานหรืออาคาร อุปกรณ์รับไฟฟ้าแต่ละตัวจะมีอุปกรณ์ป้องกันต่ออยู่ เมื่อเกิดอุบัติเหตุหรือเกิดลัดวงจรขึ้น เบรกเกอร์จะทำการตัดไฟฟ้าเพื่อแยกอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นและจำกัดความเสียหายไว้เฉพาะอุปกรณ์ที่เกิดอุบัติเหตุเท่านั้น

หม้อแปลงไฟฟ้า (Transformer)
หม้อแปลงไฟฟ้า (Transformerหมายถึง เครื่องกลไฟฟ้าเหนี่ยวนำที่ประกอบด้วยขดลวดตั้งแต่ 2 ขดขึ้นไป ใช้แปลงแรงดัน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อถ่ายทอดกำลังไฟฟ้าด้วยความถี่เท่าเดิมจากระบบไฟฟ้าที่มีแรงดันหรือกระแสสลับหนึ่งๆ ไปยังระบบไฟฟ้าอีกระบบหนึ่งซึ่งโดยทั่วไปจะมีแรงดันหรือกระแสต่างกัน โดยใช้หลักการเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้า