เทคนิคการลดต้นทุนค่าใช้จ่ายของบริษัท พร้อมช่วยดูแลโลก ด้วยโซลูชันโรงงานสีเขียว
0 Comments
/
การบริหารจัดการพลังงานที่ดีขึ้น ถือเป็นอีกหนึ่งวิธีการดี ๆ ที่สามารถช่วยบริษัทผู้ผลิตลดต้นทุนค่าใช้จ่ายและเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันให้กับองค์กรได้ ในแต่ละวัน โรงงานผู้ผลิตในประเทศไทยใช้พลังงานไฟฟ้าในปริมาณมหาศาล ส่งผลให้เกิดต้นทุนค่าใช้จ่ายที่สูงมาก อย่างไรก็ตาม ปัญหานี้สามารถถหลีกเลี่ยงได้ด้วยระบบการจัดการพลังงานง่าย ๆ
Energy Conservation of Lift : ระบบลิฟต์และการอนุรักษ์พลังงาน
ลิฟต์ใช้หลักการของรอกกว้านและน้ำหนักถ่วงเพื่อลดการใช้พลังงานในการขับเคลื่อนลิฟต์ โดยปลายเชือกรอกกว้านด้านหนึ่งของลิฟต์จะยึดติดกับตัวลิฟต์ ในขณะที่ปลายเชือกรอกกว้านอีกด้านหนึ่งจะผูกติดกับน้ำหนักถ่วง โดยปลายเชือกรอกกว้านหรือสลิงจะมีความยาวเท่ากับความสูงของตึกโดยประมาณ
มอเตอร์ไฟฟ้า เครื่องกลไฟฟ้ากระแสสลับ
มอเตอร์ไฟฟ้า คือ เครื่องกลไฟฟ้าเหนี่ยวนำชนิดหนึ่งที่นิยมใช้ในอุตสาหกรรมพื้นฐานของเครื่องกลไฟฟ้าเหนี่ยวนำสำหรับมอเตอร์ไฟฟ้า(1) คำจำกัดความของเครื่องกลไฟฟ้าเหนี่ยวนำเครื่องกลไฟฟ้าเหนี่ยวนำเป็นเครื่องกลไฟฟ้ากระแสสลับที่ประกอบด้วยสเตเตอร์และโรเตอร์ซึ่งต่างมีขดลวดอาร์เมเจอร์ที่เป็นอิสระต่อกัน และทำงานด้วยการถ่ายทอดกำลังไฟฟ้าโดยใช้หลักการเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้าจากขดลวดด้านหนึ่งไปยังอีกด้านหนึ่ง ในสภาวะที่มีเครื่องหมุนด้วยความเร็วคงที่ ความเร็วนี้จะไม่เท่ากับความเร็วซิงโครนัส ขดลวดที่ต่อกับแหล่งจ่ายไฟกระแสสลับเรียกว่า ขดลวดปฐมภูมิ ส่วนขดลวดอีกขดหนึ่งเรียกว่า ขดลวดทุติยภูมิ(2) หลักการของมอเตอร์เหนี่ยวนำ 3 เฟส
การใช้งานกับพิกัดของมอเตอร์
การใช้งานกับพิกัดของมอเตอร์การใช้งานสามารถแบ่งได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่ การใช้งานต่อเนื่อง (Continuous duty) การใช้งานเป็นเวลาสั้น (Short time duty) และการใช้งานเป็นคาบ (Periodic duty) การใช้งานต่อเนื่อง หมายถึง การใช้งานโดยเดินเครื่องต่อเนื่องด้วยภาระที่ถือได้ว่าคงที่เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่าระยะเวลาที่มอเตอร์จะเข้าสู่สมดุลความร้อน การใช้งานเป็นเวลาสั้น หมายถึง การเดินเครื่องต่อเนื่องด้วยภาระที่ถือได้ว่าคงที่เป็นระยะเวลาที่กำหนดแต่ยังไม่ทำให้มอเตอร์เข้าสู่สมดุลความร้อนแล้วหยุดเครื่อง และก่อนที่จะสตาร์ตมอเตอร์อีกครั้งนั้นอุณหภูมิของมอเตอร์กับอุณหภูมิระบายอากาศมีผลต่างไม่เกิน 2°C
เครื่องกลไฟฟ้ากระแสตรง
เครื่องกลไฟฟ้ากระแสตรง หลักการทำงานของเครื่องกลไฟฟ้ากระแสตรงจากรูปที่ 1 เมื่อตัวนำความยาวด้านตั้งฉาก ℓ [m] เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว v [m/s] ผ่านสนามแม่เหล็กที่มีความหนาแน่นเส้นแรงแม่เหล็ก B [T] จะเกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้า E [V] ขึ้นในตัวนำตามกฎมือขวาของเฟลมมิ่ง
บันไดเลื่อน (Escalators)
บันไดเลื่อน (ESCALATORS) คือระบบขนส่งด้วยสายพานแบบหนึ่งที่ใช้บันไดในการลำเลียงคนจำนวนมากด้วยความเร็วที่เหมาะสมและคงที่ การเคลื่อนที่ของบันไดเลื่อนจะใช้โซ่ที่มีข้อต่อ 1 คู่ (ลักษณะคล้ายโซ่จักรยานหรือรถยนต์ยนต์แต่ใหญ่กว่า) คล้องผ่านเกียร์หรือเฟือง 2 คู่ (ด้านบนและด้านล่างของบันได) เฟืองจะขับบันไดเลื่อนที่เรียงต่อกันหลายๆ ชั้นด้วยมอเตอร์ไฟฟ้าที่ระดับความเร็วคงที่ และเพื่อให้บันไดเลื่อนมีความปลอดภัยในการใช้งาน ราวบันไดจะถูกออกแบบมาให้เคลื่อนที่ไปในทิศทางเดียวกับบันไดด้วยความเร็วเท่ากับ
Synchronous Machine (เครื่องกลไฟฟ้าซิงโครนัส)
เครื่องกลไฟฟ้าซิงโครนัส (Synchronous Machine) หมายถึงเครื่องกลไฟฟ้ากระแสสลับที่ทำงานด้วยการหมุน และขณะที่หมุนด้วยความเร็วคงที่ จะมีความเร็วรอบเท่ากับความเร็วซิงโครนัสซึ่งขึ้นอยู่กับจำนวนขั้วและความถี่กระแสสลับ เครื่องกลไฟฟ้าซิงโครนัสนี้อาจจะไม่ได้พบเห็นโดยทั่วไปมากนัก แต่ยังคงมีการใช้งานอยู่ในบางอุตสาหกรรม
เครื่องยกของ (Overhead Crane)
เครื่องยกของ (Overhead Crane)
ในโรงงานอุตสาหกรรมหรือโกดังวัตถุดิบและโกดังสินค้าส่วนใหญ่จะมีการติดตั้งเครื่องยกของ(Overhead…
Energy conservation of motor: การอนุรักษ์พลังงานของมอเตอร์
การอนุรักษ์พลังงานของมอเตอร์ (Energy…
มอเตอร์...ในอุตสาหกรรม
มอเตอร์...ในอุตสาหกรรม
มอเตอร์เป็นเครื่องจักรกลไฟฟ้าที่หมุนได้โดยอาศัยหลักการเหนี่ยวนำทางแม่เหล็ก…