All 12 /Air compressor 1 /Blogger 0 /Boiler 1 /Condenser & Evaporator 0 /Dryer & Oven 0 /Electric Power System 2 /Energy Audit 0 /Energy Conservation 6 /Fossil Energy 0 /Free Training Zone 0 /Furnace 0 /Heater 2 /Hydrogen fuel 0 /iChannel 0 /iEnergyGuru' Blogs 0 /iKnow 0 /iNEWs 4 /Infographic 1 /ISO 50001 0 /Kuskana Kubaha's Blogs 0 /Lighting 0 /Motor 0 /Pump & Fan 1 /Refrigeration & Air Condition 1 /Renewable Energy 0 /Renewable Energy 0 /Standard & Management 0 /Thermal Theory 0 /Uncategorized 0 /Vichan Nakthong's Blogs 0 /กรณีศึกษา ISO 50001 0 /ก๊าซธรรมชาติ 0 /การจัดการพลังงานตามกฎหมาย 0 /การจัดการอุตสาหกรรม 0 /การตรวจสอบรับรอง ISO 50001 0 /ขั้นตอนการดำเนินการตามมาตรฐาน ISO 50001 0 /ข่าว Highlight ประจำสัปดาห์ 1 /ข่าวด้านสิ่งแวดล้อม 1 /ข่าวนวัตกรรมและเทคโนโลยี 0 /ข่าวประชาสัมพันธ์ 1 /ข่าวพลังงานทดแทน 0 /ข่าวอนุรักษ์พลังงาน 0 /ข่าวเทคโนโลยีพลังงาน 0 /ความต้องการของมาตรฐาน ISO 50001 0 /ชีวมวลและพลังงานชีวภาพ (Biomass and Bioenergy) 0 /นิวเคลียร์ 0 /บทความ 0 /บทความพิเศษ 0 /บุคคลสำคัญด้านเทคโนโลยี 0 /ปิโตรเลียม 0 /พลังงานความร้อน 1 /พลังงานความร้อนใต้พิภพ (Geothermal Energy) 0 /พลังงานน้ำ (Hydro Power) 0 /พลังงานมหาสมุทร (Ocean Energy) 0 /พลังงานลม (Wind Energy) 0 /พลังงานแสงอาทิตย์ (Solar Energy) 0 /พลังงานไฟฟ้า 6 /ภาวะโลกร้อน 0 /วันสำคัญ 0 /วัสดุเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน 0 /เครื่องมือวัดด้านพลังงาน 0 /เชื้อเพลิงชีวภาพ (Biofuels) 0 /เทคโนโลยีเชิงลึก 0 /ไฮโดรเจน (Hydrogen) 0

Design of power system (การออกแบบระบบไฟฟ้ากำลัง)

power system การอนุรักษ์พลังงานของระบบไฟฟ้า (power system) จะขึ้นอยู่กับการออกแบบ  การจัดการการใช้งานก็มีบทบาทที่สำคัญเช่นกัน  การจัดการพลังงานของระบบไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิผลจะต้องเข้าใจหลักการ ของการอนุรักษ์พลังงานตามเจตนารมณ์ของผู้ออกแบบ แล้วนำมาปฏิบัติในการจัดการการใช้งาน
พฤศจิกายน 5, 2015/by s.yanwaree

ค่าเพาเวอร์แฟกเตอร์ (Power factor)

ค่าเพาเวอร์แฟกเตอร์ (Power factor)ในระบบจ่ายไฟฟ้ากำลังนั้นค่าเพาเวอร์แฟกเตอร์มีส่วนสำคัญอย่างยิ่ง แต่มีหลายครั้งที่ผู้ที่เกี่ยวข้อง ทั้งผู้ออกแบบระบบหรือผู้รับผิดชอบในการจ่ายไฟฟ้า อาจไม่ให้ความสำคัญมากนัก บทความนี้จะกล่าวถึงองค์ประกอบและการผลดีของการปรับปรุงเพาเวอร์แฟกเตอร์ให้มีค่าที่เหมาะสมกัน
พฤศจิกายน 4, 2015/by iEnergyGuru.

การอนุรักษ์พลังงานในปั๊มน้ำและพัดลม

ปั๊มน้ำและพัดลม ดัชนีการใช้พลังงานเป็นพารามิเตอร์ที่สำคัญที่จะใช้บอกต้นทุนและปัญหาที่เกิดขึ้นกับปั๊มน้ำและพัดลม อุปกรณ์แต่ละตัวที่ทำงานร่วมกันจะมีประสิทธิภาพไม่เท่ากันเนื่องจากสึกหรอ การบำรุงรักษา รวมทั้งมอเตอร์อาจเกิดการไหม้และนำไปซ่อมมาใช้ใหม่ส่งผลให้ประสิทธิภาพของมอเตอร์ลดลง เป็นต้น ดังนั้นผู้ใช้งานควรเก็บข้อมูลและตรวจสอบดัชนีต่างๆ อย่างสม่ำเสมอเพื่อควบคุ้มค่าใช้จ่ายด้านพลังงานและหาแนวทางในการปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของอุปกรณ์ ดัชนีการใช้พลังงานของแต่ละระบบแสดงได้ดังต่อไปนี้
พฤศจิกายน 4, 2015/by iEnergyGuru.

Energy Conservation of Air Compressor : การอนุรักษ์พลังงานในระบบอากาศอัด

ระบบอากาศอัด ดัชนีการใช้พลังงานเป็นสิ่งสำคัญที่จะบอกต้นทุนและปัญหาที่เกิดขึ้นกับเครื่องอัดอากาศ เครื่องอัดแต่ ละชุดที่ใช้งานร่วมกันจะมีประสิทธิภาพไม่เท่ากัน เนื่องจากการสึกหรอของอุปกรณ์ประกอบต่างๆและขาดการบำรุงรักษาที่ดีดังนั้นผู้ใช้งานควรเก็บข้อมูลและตรวจสอบดัชนีอย่างสม่ำเสมอ เพื่อควบคุมค่าใช้จ่ายด้านพลังงานไฟฟ้าและหาแนวทางในการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
พฤศจิกายน 4, 2015/by iEnergyGuru.

การอนุรักษ์พลังงานในระบบปรับอากาศแบบแยกส่วน (Split Type)

ระบบปรับอากาศแบบแยกส่วน (Split Type)ดัชนีการใช้พลังงานผู้ใช้ระบบปรับอากาศต้องตรวจสอบสมรรถนะของระบบและอุปกรณ์ที่ใช้พลังงานในระบบอย่างสม่ำเสมอ เพื่อใช้เปรียบเทียบกับสมรรถนะความสามารถเดิมว่าลดลงเท่าใด แล้วจึงหาแนวทางในการปรับปรุงเพื่อเพิ่มสมรรถนะหรือทำการเปลี่ยนเครื่องใหม่ค่าสมรรถนะการทำความเย็นคือ ค่าพลังไฟฟ้าที่เครื่องปรับอากาศใช้ต่อความสามารถในการทำความเย็น (kW/TR)
พฤศจิกายน 4, 2015/by iEnergyGuru.

การอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ำ

หม้อไอน้ำ แต่ละชุดและอุปกรณ์ไอน้ำแต่ละชุดจะมีดัชนีที่แตกต่างกัน เนื่องจากประสิทธิภาพต่างกัน ดังนั้นเพื่อเป็นการติดตามให้การทำงานของหม้อไอน้ำเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพควรตรวจสอบดัชนีอย่างสม่ำเสมอเพื่อควบคุมค่าใช้จ่ายด้านเชื้อเพลิง ดัชนีชี้วัดการใช้พลังงานของหม้อไอน้ำมีรายการดังต่อไปนี้ความสามารถผลิตไอน้ำสมมูล คือ ความสามารถในการผลิตไอน้ำจริง (ตัน/ชั่วโมง)
พฤศจิกายน 4, 2015/by iEnergyGuru.

Greenhouse Effect : ปรากฏการณ์เรือนกระจก – iEnergyGuru

Greenhouse Effect ปรากฏการณ์เรือนกระจก คือการที่โลกถูกห่อหุ้มด้วยก๊าซเรือนกระจกที่เป็นองค์ประกอบของบรรยากาศโลก ซึ่งก๊าซเหล่านี้ดูดคลื่นรังสีความร้อนไว้ในเวลากลางวัน แล้วแผ่รังสีความร้อนออกมาในเวลากลางคืน ทำให้อุณหภูมิในบรรยากาศโลกไม่เปลี่ยนแปลงอย่างทันทีทันใด ถ้าไม่มีก๊าซเรือนกระจกในชั้นบรรยากาศ อุณหภูมิโลกในตอนกลางวันจะร้อนจัด ส่วนกลางคืนจะหนาวจัด
พฤศจิกายน 3, 2015/by iEnergyGuru.

Climate Change Expo 2015 “เพราะอากาศเป็นใจ”

Climate Change iEnergyGuru ได้รับมอบโล่ประกาศเกียรติคุณ จากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในฐานะเป็นองค์กรภาคีด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ในงานมหกรรมเตรียมความพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ "Climate Change Expo 2015" ณ อุทยานการเรียนรู้ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิร์ด เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2558
ตุลาคม 28, 2015/by iEnergyGuru.

พายุเฮอริเคนแพทริเซีย: พายุที่มีความรุนแรงที่สุดในประวัติศาสตร์โลก…!

พายุเฮอริเคนแพทริเซีย ที่อาจมีความรุนแรงของลมพายุในระดับ 7 กำลังคุกคามชายฝั่งด้านตะวันตกของประเทศเม็กซิโก พายุลูกนี้ได้สร้างความเร็วลมศูนย์กลางพายุสูงสุดถึง 200 ไมล์ต่อชั่วโมง หรือราว 320 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เมื่อเวลา 10 โมงเช้าของวันที่ 23 ตุลาคม 2015 (ข้อมูลจากศูนย์กลางพายุเฮอริเคนแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา)
ตุลาคม 25, 2015/by iEnergyGuru.

“เพราะอากาศเป็นใจ” Climate Change Expo 2015

Climate Change Expo 2015 มาร่วมอัพเดทสถานการณ์ล่าสุดของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในประเทศไทย ผลกระทบอะไรบ้างที่เรากำลังเผชิญอยู่ รวมทั้งทำความรู้จักว่า 'ใคร' กำลังช่วยให้เราตั้งรับ ปรับตัวกับปัญหานี้ได้ .
ตุลาคม 23, 2015/by iEnergyGuru.

การประยุกต์ใช้การให้ความร้อนด้วยการเหนี่ยวนำไดอิเล็กทริกและคลื่นไมโครเวฟ

ไดอิเล็กทริก เมื่อนำวัตถุที่ไม่นำไฟฟ้า (วัตถุไดอิเล็กทริก) วางไว้ระหว่างขั้วไฟฟ้าที่เป็นแผ่นราบ 2 แผ่น แล้วจ่ายดันไฟฟ้ากระแสสลับให้ จะเกิดความร้อนขึ้นจากความสูญเสียในวัตถุไดอิเล็กทริก วัตถุไดอิเล็กทริกจะมี Electric Dipole ซึ่งมีขั้วบวกและลบอยู่ดังรูปด้านล่าง
ตุลาคม 23, 2015/by iEnergyGuru.

การให้ความร้อนด้วยการอาร์ก (Electric-Arc)

Electric Arc หมายถึงปรากฏการณ์นำไฟฟ้าในก๊าซเนื่องจากการปลดปล่อยไฟฟ้าในบรรยากาศ ซึ่งจะเกิดกระแสไฟฟ้าที่มีค่าสูงแต่แรงดันไฟฟ้าต่ำอุณหภูมิก๊าซของลำอาร์กจะสูงถึง 4,000-6,000 K การให้ความร้อนด้วยการอาร์กเป็นวิธีให้ความร้อนโดยใช้การอาร์กเป็นแหล่งความร้อนอุณหภูมิสูง ใช้กับการให้ความร้อน หลอม ถลุง ฯลฯ วัสดุต่างๆ เช่น เหล็กกล้า เป็นต้น
ตุลาคม 23, 2015/by iEnergyGuru.