เทคโนโลยีพลังงานจากมหาสมุทร (Ocean Energy Technology)
0 Comments
/
เทคโนโลยี พลังงานจากมหาสมุทร (Ocean energy technology)รายละเอียดของการใช้ประโยชน์ในการผลิตพลังงานจากมหาสมุทรดังนี้1. พลังงานนํ้าขึ้น-นํ้าลงจากพลังงานศักย์ (Tidal head energy)พลังงานศักย์ที่เกิดจากความแตกต่างหรือพิสัยของระดับนํ้าขึ้นและระดับนํ้าลง จากการทำทำนบซึ่งเป็นเขื่อนที่กั้นบริเวณปากทางนํ้าที่เป็นช่องแคบ เช่น ปากแม่นํ้าช่องนํ้า (estuary) เพื่อใช้ประโยชน์จากพลังงานศักย์ที่เกิดจากความแตกต่าง หรือพิสัยของระดับนํ้า
ขนาดของโรงไฟฟ้าพลังงานน้ำ
ขนาดของโรงไฟฟ้าพลังงานน้ำ แบ่งออกเป็น 3 ขนาด ได้แก่โรงไฟฟ้าพลังน้ำขนาดใหญ่ (Large hydroelectric power plant)โรงไฟฟ้าพลังนํ้าขนาดเล็ก (Small hydroelectric power plant, mini hydroelectric power plant)โรงไฟฟ้าพลังนํ้าขนาดจิ๋ว (Micro hydroelectric power plant)
องค์ประกอบของโรงไฟฟ้าพลังน้ำ (Hydroelectric Power Plant Configurations)
โรงไฟฟ้าพลังน้ำ (Hydroelectric Power Plant Configurations)องค์ประกอบในส่วนต่าง ๆ ของโรงไฟฟ้าพลังงานน้ำ ซึ่งมีส่วนประกอบที่สำคัญดังนี้คลองส่งน้ำ
เทคโนโลยีการแปลงพลังงานคลื่น (Wave Energy Conversion Technology)
เทคโนโลยีการแปลง พลังงานคลื่น (Wave energy conversion technology)เป็นพลังงานรูปอื่น โดยอาศัยอุปกรณ์ที่สำคัญ เช่น ทุ่นลอยแอตเทนนูเอเตอร์ ทุ่นลอยแบบดูดซับพลังงาน อุปกรณ์ดักจับพลังงานแบบโอเวอร์ทอปปิ้ง และคอลัมน์นํ้าสั่น1. Attenuator ทุ่นลอย, แอตเทนนูเอเตอร์
เขื่อนจุฬาภรณ์ (เขื่อนน้ำพรม)
เขื่อนจุฬาภรณ์ มีลักษณะเป็นแบบหินถม แกนกลางเป็นดินเหนียวบดอัดทับแน่นด้วยหินและกรวดตัว เขื่อนยาว 700 เมตร สันเขื่อนกว้าง 8 เมตร สูง 70 เมตร ระดับสันเขื่อนอยู่ที่ + 763.0 เมตร เหนือระดับน้ำทะเลปานกลาง อ่างเก็บน้ำมีความจุ 188 ล้านลูกบาศก์เมตร
ศักยภาพแหล่งพลังงานจากมหาสมุทร
พลังงานจากมหาสมุทร (Potential of ocean energy)ในด้านพลังงานคลื่น กระแสนํ้าขึ้น-นํ้าลง ระดับอุณหภูมิแตกต่าง และความเค็มที่ครอบคลุมพื้นที่มหาสมุทรของโลก ข้อมูลจากแผนที่นำไปใช้ประเมินศักยภาพการแปลงพลังงานมหาสมุทรไปเป็นพลังงานรูปแบบอื่นๆ ปัจจุบันเทคโนโลยีการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากแหล่งพลังงานจากมหาสมุทรยังมีต้นทุนสูง
เขื่อนรัชชประภา
เขื่อนรัชชประภา มีชื่อเรียกดั้งเดิมว่า เขื่อนเชี่ยวหลาน เป็นเขื่อนอเนกประสงค์แห่งที่สองของภาคใต้อยู่ในจังหวัดสุราษฏร์ธานี เมื่อก่อสร้างแล้วเสร็จได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานนามให้ใหม่ว่า “เขื่อนรัชชประภา” มีความหมายว่า “แสงสว่างแห่งราชอาณาจักร”
เขื่อนน้ำพุง
เขื่อนน้ำพุง ตั้งอยู่บริเวณน้ำตกคําเพิ่มใกล้ทางหลวงสายสกลนคร-กาฬสินธุ์ เขตอําเภอกุดบาก จังหวัดสกลนคร ห่างจากตัวเมืองไปทางทิศตะวันเฉียงใต้ประมาณ 31 กิโลเมตร
เขื่อนแม่งัดสมบูรณ์ชล
เขื่อนแม่งัดสมบูรณ์ชล เป็นเขื่อนดินถม สูง 59 เมตร ยาว 1,950 เมตร อ่างเก็บน้ํามีพื้นที่ 16 ตารางกิโลเมตร สามารถเก็บกักน้ำได้สูงสุด 265 ล้านลูกบาศก์เมตรเริ่มก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2520 โดยกรมชลประทาน การก่อสร้างตัวเขื่อนแล้วเสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2527
เขื่อนแก่งกระจาน
เขื่อนแก่งกระจาน เป็นเขื่อนดิน สูง 58 เมตร สันเขื่อนยาว760 เมตร กว้าง 8 เมตร ระดับสันเขื่อน 106 เมตร ทก. (ระดับน้ําทะเลปานกลาง) นอกจากนี้ ยังมีเขื่อนดินปิดเขาต่ําทางขวางเขื่อนอีก 2 แห่ง คือ แห่ง แรกสูง 36 เมตร สันเขื่อนยาว 305 เมตร
พลังงานน้ำ การเคลื่อนไหวที่ไม่มีวันสิ้นสุด – iEnergyGuru
โรงไฟฟ้า พลังงานน้ำ มีอยู่ด้วยกันหลายประเภทดังนี้โรงไฟฟ้าแบบสูบนํ้ากลับ (Pumped storage hydroplant) โรงไฟฟ้าแบบสูบน้ำกลับเป็นโรงไฟฟ้าที่สามารถสูบนํ้าที่ปล่อยจากอ่างเก็บนํ้าลงมาโรงไฟฟ้าแบบมีอ่างเก็บน้ำขนาดเล็ก (Regulating pond hydro plant)
เขื่อนภูมิพล เขื่อนอเนกประสงค์แห่งแรกของประเทศไทย
เขื่อนภูมิพล (BHUMIPOL DAM)เป็นเขื่อนคอนกรีตโค้งเพียงแห่งเดียวของประเทศไทย สร้างปิดกั้นลำน้ำปิงที่บริเวณ เขาแก้ว อำเภอสามเงา จังหวัดตาก มีรัศมีความโค้ง 250 เมตร สูง 154 เมตร ยาว 486 เมตร ความกว้างของสันเขื่อน 6 เมตร อ่างเก็บน้้ามีความจุสูงสุด 13,462 ล้านลูกบาศก์เมตร
เขื่อนบางลาง (Banglang Dam)
เขื่อนบางลาง (Banglang Dam)กั้นแม่น้ำปัตตานีที่บริเวณบ้านบางลาง ตำบลเขื่อนบางลาง อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา ห่างจากตัวอำเภอเมือง 58 กิโลเมตร ตัวเขื่อนเป็นเขื่อนหินถมแกนดินเหนียว มีความสูง 85 เมตร สันเขื่อนยาว 430 เมตร กว้าง 10 เมตรอ่างเก็บน้ำมีความจุ 1,420 ล้านลูกบาศก์เมตร พื้นที่รับน้ำเหนือเขื่อน 2,080 ตารางกิโลเมตร
เขื่อน...แหล่งกักเก็บพลังงานน้ำ
เขื่อน แหล่งกักเก็บพลังงานน้ำ เป็นสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่สำหรับกั้นทางนํ้าซึ่งเป็นต้นนํ้า ทำให้นํ้าถูกสะสม และกักเก็บไว้ในอ่างเก็บนํ้าเหนือเขื่อน ใช้การควบคุมการระบายนํ้าในอ่างเก็บนํ้าเหนือเขื่อนเพื่อป้องกันอุทกภัยและเพื่อการชลประทาน ใช้ประโยชน์จากพลังนํ้าเหนือเขื่อนผลิตกระแสไฟฟ้า ระดับนํ้าเหนือเขื่อนต้องอยู่ตํ่ากว่าสันเขื่อนเสมอ ถ้าปริมาณนํ้าเหนือเขื่อนมากเกินกว่าที่ออกแบบไว้จะถูกระบายออกไปตามทางนํ้าล้นยังฝั่งท้ายนํ้าเพื่อควบคุมปริมาณและเพื่อความปลอดภัย จำแนกชนิดของเขื่อนตามชนิดของวัสดุก่อสร้าง ได้แก่ เขื่อนหินทิ้ง เขื่อนดินเขื่อนคอนกรีตแบบถ่วงนํ้าหนัก เขื่อนคอนกรีตแบบโค้ง และเขื่อนกลวงหรือเขื่อนครีบ โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
Properties of Biomass Sources (คุณสมบัติที่สำคัญของชีวมวล)
คุณสมบัติที่สำคัญของชีวมวล (Properties…