All 12 /Air compressor 0 /Blogger 0 /Boiler 0 /Condenser & Evaporator 0 /Dryer & Oven 0 /Electric Power System 0 /Energy Audit 0 /Energy Conservation 5 /Fossil Energy 0 /Free Training Zone 2 /Furnace 0 /Heater 4 /Hydrogen fuel 0 /iChannel 0 /iEnergyGuru' Blogs 0 /iKnow 0 /iNEWs 0 /Infographic 0 /ISO 50001 0 /Kuskana Kubaha's Blogs 0 /Lighting 1 /Motor 3 /Pump & Fan 0 /Refrigeration & Air Condition 0 /Renewable Energy 0 /Renewable Energy 1 /Standard & Management 1 /Thermal Theory 0 /Uncategorized 0 /Vichan Nakthong's Blogs 0 /กรณีศึกษา ISO 50001 0 /ก๊าซธรรมชาติ 0 /การจัดการพลังงานตามกฎหมาย 0 /การจัดการอุตสาหกรรม 0 /การตรวจสอบรับรอง ISO 50001 0 /ขั้นตอนการดำเนินการตามมาตรฐาน ISO 50001 0 /ข่าว Highlight ประจำสัปดาห์ 0 /ข่าวด้านสิ่งแวดล้อม 0 /ข่าวนวัตกรรมและเทคโนโลยี 0 /ข่าวประชาสัมพันธ์ 0 /ข่าวพลังงานทดแทน 0 /ข่าวอนุรักษ์พลังงาน 0 /ข่าวเทคโนโลยีพลังงาน 0 /ความต้องการของมาตรฐาน ISO 50001 0 /ชีวมวลและพลังงานชีวภาพ (Biomass and Bioenergy) 0 /นิวเคลียร์ 0 /บทความ 0 /บทความพิเศษ 0 /บุคคลสำคัญด้านเทคโนโลยี 0 /ปิโตรเลียม 0 /พลังงานความร้อน 0 /พลังงานความร้อนใต้พิภพ (Geothermal Energy) 0 /พลังงานน้ำ (Hydro Power) 0 /พลังงานมหาสมุทร (Ocean Energy) 0 /พลังงานลม (Wind Energy) 0 /พลังงานแสงอาทิตย์ (Solar Energy) 1 /พลังงานไฟฟ้า 8 /ภาวะโลกร้อน 0 /วันสำคัญ 0 /วัสดุเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน 0 /เครื่องมือวัดด้านพลังงาน 0 /เชื้อเพลิงชีวภาพ (Biofuels) 0 /เทคโนโลยีเชิงลึก 0 /ไฮโดรเจน (Hydrogen) 0

หลักการออกแบบและติดตั้งแผงเซลล์แสงอาทิตย์เบื้องต้นสำหรับบ้านเรือน (Basic of solar Cell Design and Installation for residences)

แผงเซลล์แสงอาทิตย์ หลักการออกแบบและติดตั้งแผงเซลล์แสงอาทิตย์เบื้องต้นสำหรับบ้านเรือน การประเมินพื้นที่ในการติดตั้งและศักยภาพในการใช้พลังงานแสงอาทิตย์ปัจจัยที่มีผลต่อการผลิตพลังงานไฟฟ้าของระบบ PVsการคำนวณปริมาณพลังงานที่ใช้และคำนวณจำนวนแผงแสงอาทิตย์อุปกรณ์พื้นฐานในการติดตั้งระบบ PVs สำหรับบ้านเรือนการบำรุงรักษาระบบต้นทุนการติดตั้งระบบและระยะการคืนทุนของระบบ Solar Cell สำหรับบ้านเรือน
พฤศจิกายน 15, 2015/by iEnergyGuru.

Energy Management System การตรวจสอบรับรองระบบการจัดการพลังงานตามกฎหมาย

การจัดการพลังงาน การตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน เป็นการตรวจสอบว่าระบบการจัดการพลังงานของโรงงานควบคุมและอาคารควบคุมเป็นไปตามข้อกำหนดของกฎหมายหรือไม่  โดยในกระบวนการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน  มีคำสำคัญที่ใช้และคำจำกัดความ
พฤศจิกายน 13, 2015/by iEnergyGuru

การอนุรักษ์พลังงานในระบบไฟฟ้าแสงสว่าง

ระบบแสงสว่าง ดัชนีการใช้พลังงานเป็นพารามิเตอร์ที่สำคัญที่จะใช้บอกต้นทุนและประสิทธิภาพการใช้พลังงานของระบบแสงสว่าง ซึ่งหลอดไฟและอุปกรณ์ประกอบเช่น บัลลาสต์รวมถึงโคมไฟฟ้าซึ่งมีหลายชนิดและแต่ละชนิดมีประสิทธิภาพแตกต่างกัน รวมทั้งการออกแบบที่ใช้ปริมาณความสว่างเกินมาตรฐานทำให้ต้องติดตั้งระบบแสงสว่างเกินความจำเป็น ดังนั้นดัชนีการใช้พลังงานจะสามารถใช้เปรียบเทียบในภาพรวมทั้งการใช้อุปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพและการออกแบบที่มีประสิทธิภาพ
พฤศจิกายน 11, 2015/by iEnergyGuru.

METALEX 2015

กรมส่งเสริมอุตสาหกรรมขอเชิญเข้าร่วมสัมมนา หลังสูตรในงาน METALEX 2015 ระหว่างวันที่ 18 - 21 พฤศจิกายน 2558 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพฯ
พฤศจิกายน 10, 2015/by iEnergyGuru

“The Power Of Energy To Success”

รายละเอียดเพิ่ม�…
พฤศจิกายน 9, 2015/by iEnergyGuru

หลักการทำความร้อนด้วยไฟฟ้า (Principle of Electric Heating)

หลัก การทำความร้อนด้วยไฟฟ้า (Principle of Electric Heating) ในภาคอุตสาหกรรมมีการใช้พลังงานไฟฟ้าในการทำความร้อนในกระบวนการผลิตอย่างมากมาย คุณสมบัติพิเศษของการนำพลังงานไฟฟ้าคุณสมบัติพิเศษของการนำพลังงานไฟฟ้ามาใช้ในการให้ความร้อนด้วยไฟฟ้า โดยทั่วไปมีดังต่อไปนี้(1) เป็นวิธีให้ความร้อนที่ไม่เกิดมลพิษ มีสภาพแวดล้อมในการทำงานที่ดีวิธีนี้ต้องการพลังงานเพียงสำหรับให้ความร้อนเพียงอย่างเดียวเท่านั้น โดยพื้นฐานแล้วจึงเป็นวิธีให้ความร้อนที่สะอาด ไม่เกิดการปนเปื้อนต่อสิ่งแวดล้อม และสภาพแวดล้อมในการทำงานจะสะอาด
พฤศจิกายน 8, 2015/by iEnergyGuru.

มอเตอร์ไฟฟ้า เครื่องกลไฟฟ้ากระแสสลับ

มอเตอร์ไฟฟ้า คือ เครื่องกลไฟฟ้าเหนี่ยวนำชนิดหนึ่งที่นิยมใช้ในอุตสาหกรรมพื้นฐานของเครื่องกลไฟฟ้าเหนี่ยวนำสำหรับมอเตอร์ไฟฟ้า(1)   คำจำกัดความของเครื่องกลไฟฟ้าเหนี่ยวนำเครื่องกลไฟฟ้าเหนี่ยวนำเป็นเครื่องกลไฟฟ้ากระแสสลับที่ประกอบด้วยสเตเตอร์และโรเตอร์ซึ่งต่างมีขดลวดอาร์เมเจอร์ที่เป็นอิสระต่อกัน และทำงานด้วยการถ่ายทอดกำลังไฟฟ้าโดยใช้หลักการเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้าจากขดลวดด้านหนึ่งไปยังอีกด้านหนึ่ง ในสภาวะที่มีเครื่องหมุนด้วยความเร็วคงที่ ความเร็วนี้จะไม่เท่ากับความเร็วซิงโครนัส ขดลวดที่ต่อกับแหล่งจ่ายไฟกระแสสลับเรียกว่า ขดลวดปฐมภูมิ ส่วนขดลวดอีกขดหนึ่งเรียกว่า ขดลวดทุติยภูมิ(2)   หลักการของมอเตอร์เหนี่ยวนำ 3 เฟส
พฤศจิกายน 8, 2015/by iEnergyGuru.

การใช้งานกับพิกัดของมอเตอร์

การใช้งานกับพิกัดของมอเตอร์การใช้งานสามารถแบ่งได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่ การใช้งานต่อเนื่อง (Continuous duty) การใช้งานเป็นเวลาสั้น (Short time duty) และการใช้งานเป็นคาบ (Periodic duty) การใช้งานต่อเนื่อง หมายถึง การใช้งานโดยเดินเครื่องต่อเนื่องด้วยภาระที่ถือได้ว่าคงที่เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่าระยะเวลาที่มอเตอร์จะเข้าสู่สมดุลความร้อน การใช้งานเป็นเวลาสั้น หมายถึง การเดินเครื่องต่อเนื่องด้วยภาระที่ถือได้ว่าคงที่เป็นระยะเวลาที่กำหนดแต่ยังไม่ทำให้มอเตอร์เข้าสู่สมดุลความร้อนแล้วหยุดเครื่อง และก่อนที่จะสตาร์ตมอเตอร์อีกครั้งนั้นอุณหภูมิของมอเตอร์กับอุณหภูมิระบายอากาศมีผลต่างไม่เกิน 2°C
พฤศจิกายน 8, 2015/by iEnergyGuru.

เครื่องกลไฟฟ้ากระแสตรง

เครื่องกลไฟฟ้ากระแสตรง หลักการทำงานของเครื่องกลไฟฟ้ากระแสตรงจากรูปที่ 1 เมื่อตัวนำความยาวด้านตั้งฉาก ℓ [m] เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว v [m/s] ผ่านสนามแม่เหล็กที่มีความหนาแน่นเส้นแรงแม่เหล็ก B [T] จะเกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้า E [V] ขึ้นในตัวนำตามกฎมือขวาของเฟลมมิ่ง
พฤศจิกายน 8, 2015/by iEnergyGuru.

การให้ความร้อนด้วยความต้านทาน

การให้ ความร้อน ด้วยความต้านเป็นวิธีให้ความร้อนด้วยการใช้ประโยชน์จากการกำเนิดความร้อนด้วยปรากฏการณ์ Joule ของกระแสไฟฟ้าในวัตถุที่เป็นตัวนำไฟฟ้าที่ต่อกับแหล่งจ่ายไฟโดยตรง แบ่งเป็นวิธีให้ความร้อนทางอ้อมโดยถ่ายเทความร้อนที่เกิดขึ้นจาก Heating Element ไปยังวัตถุที่ต้องการให้ความร้อน กับวิธีให้ความร้อนความต้านทานโดยตรงซึ่งจะผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปในวัตถุที่ต้องการให้ ความร้อนโดยตรงเพื่อให้ความร้อน
พฤศจิกายน 6, 2015/by iEnergyGuru.

Electrical Heater: วัสดุสำหรับอุปกรณ์ให้ความร้อนด้วยไฟฟ้า

Electrical Heater : วัสดุสำหรับอุปกรณ์ให้ความร้อนด้วยไฟฟ้าการทำความร้อนด้วยไฟฟ้า (Electrical Heater) มีวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องในการกำเนิดความร้อนหลายส่วนดังนี้1. ตัวกำเนิดความร้อน (heating Element)Heating Element หมายถึงวัตถุที่มีวัตถุประสงค์ในการกำเนิดความร้อนด้วยการให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านตัวมันเอง โดยทั่วไปคุณสมบัติหลักของวัสดุที่ใช้ทำ Heating Element ได้แก่
พฤศจิกายน 6, 2015/by iEnergyGuru.

การให้ความร้อนด้วยการเหนี่ยวนำ

การให้ความร้อนด้วยการเหนี่ยวนำ เมื่อพันขดลวดรอบๆ วัตถุที่ต้องการให้ความร้อนดังรูปที่ 1 แล้วจ่ายไฟฟ้ากระแสสลับเข้าไปในขดลวดนี้ จะเกิดเส้นแรงแม่เหล็กเปลี่ยนแปลง (Alternate Magnetic Flux) ภายในวัตถุที่ต้องการให้ความร้อน ซึ่งจะเหนี่ยวนำให้เกิดกระแสไหลวนขึ้น หากวัตถุที่ต้องการให้ความร้อนสามารถนำไฟฟ้าได้ จะเกิดความร้อนของ Joule ขึ้นจากความต้านทานเฉพาะตัวของวัตถุนั้นกับกระแสไหลวนดังกล่าว ทำให้สามารถให้ความร้อนวัตถุได้
พฤศจิกายน 6, 2015/by iEnergyGuru.