Energy Conservation

แหล่งเรียนรู้ที่รวบรวมบทความที่น่าสนใจเรื่องการอนุรักษ์พลังงาน (Energy Conservation) ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของ พลังงานไฟฟ้า, พลังงานความร้อน, วัสดุเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน, เทคโนโลยีเชิงลึก, เครื่องมือวัดด้านพลังงาน และ Energy Audit มาเรียนรู้ไปพร้อมๆกันกับ iEnergyGuru กันนะคะ

Energy Conservation of Lift : ระบบลิฟต์และการอนุรักษ์พลังงาน

/
ลิฟต์ใช้หลักการของรอกกว้านและน้ำหนักถ่วงเพื่อลดการใช้พลังงานในการขับเคลื่อนลิฟต์ โดยปลายเชือกรอกกว้านด้านหนึ่งของลิฟต์จะยึดติดกับตัวลิฟต์ ในขณะที่ปลายเชือกรอกกว้านอีกด้านหนึ่งจะผูกติดกับน้ำหนักถ่วง โดยปลายเชือกรอกกว้านหรือสลิงจะมีความยาวเท่ากับความสูงของตึกโดยประมาณ

การอนุรักษ์พลังงานในระบบไฟฟ้าแสงสว่าง

/
ระบบแสงสว่าง ดัชนีการใช้พลังงานเป็นพารามิเตอร์ที่สำคัญที่จะใช้บอกต้นทุนและประสิทธิภาพการใช้พลังงานของระบบแสงสว่าง ซึ่งหลอดไฟและอุปกรณ์ประกอบเช่น บัลลาสต์รวมถึงโคมไฟฟ้าซึ่งมีหลายชนิดและแต่ละชนิดมีประสิทธิภาพแตกต่างกัน รวมทั้งการออกแบบที่ใช้ปริมาณความสว่างเกินมาตรฐานทำให้ต้องติดตั้งระบบแสงสว่างเกินความจำเป็น ดังนั้นดัชนีการใช้พลังงานจะสามารถใช้เปรียบเทียบในภาพรวมทั้งการใช้อุปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพและการออกแบบที่มีประสิทธิภาพ

หลักการทำความร้อนด้วยไฟฟ้า (Principle of Electric Heating)

/
หลัก การทำความร้อนด้วยไฟฟ้า (Principle of Electric Heating) ในภาคอุตสาหกรรมมีการใช้พลังงานไฟฟ้าในการทำความร้อนในกระบวนการผลิตอย่างมากมาย คุณสมบัติพิเศษของการนำพลังงานไฟฟ้าคุณสมบัติพิเศษของการนำพลังงานไฟฟ้ามาใช้ในการให้ความร้อนด้วยไฟฟ้า โดยทั่วไปมีดังต่อไปนี้(1) เป็นวิธีให้ความร้อนที่ไม่เกิดมลพิษ มีสภาพแวดล้อมในการทำงานที่ดีวิธีนี้ต้องการพลังงานเพียงสำหรับให้ความร้อนเพียงอย่างเดียวเท่านั้น โดยพื้นฐานแล้วจึงเป็นวิธีให้ความร้อนที่สะอาด ไม่เกิดการปนเปื้อนต่อสิ่งแวดล้อม และสภาพแวดล้อมในการทำงานจะสะอาด

มอเตอร์ไฟฟ้า เครื่องกลไฟฟ้ากระแสสลับ

/
มอเตอร์ไฟฟ้า คือ เครื่องกลไฟฟ้าเหนี่ยวนำชนิดหนึ่งที่นิยมใช้ในอุตสาหกรรมพื้นฐานของเครื่องกลไฟฟ้าเหนี่ยวนำสำหรับมอเตอร์ไฟฟ้า(1)   คำจำกัดความของเครื่องกลไฟฟ้าเหนี่ยวนำเครื่องกลไฟฟ้าเหนี่ยวนำเป็นเครื่องกลไฟฟ้ากระแสสลับที่ประกอบด้วยสเตเตอร์และโรเตอร์ซึ่งต่างมีขดลวดอาร์เมเจอร์ที่เป็นอิสระต่อกัน และทำงานด้วยการถ่ายทอดกำลังไฟฟ้าโดยใช้หลักการเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้าจากขดลวดด้านหนึ่งไปยังอีกด้านหนึ่ง ในสภาวะที่มีเครื่องหมุนด้วยความเร็วคงที่ ความเร็วนี้จะไม่เท่ากับความเร็วซิงโครนัส ขดลวดที่ต่อกับแหล่งจ่ายไฟกระแสสลับเรียกว่า ขดลวดปฐมภูมิ ส่วนขดลวดอีกขดหนึ่งเรียกว่า ขดลวดทุติยภูมิ(2)   หลักการของมอเตอร์เหนี่ยวนำ 3 เฟส

การใช้งานกับพิกัดของมอเตอร์

/
การใช้งานกับพิกัดของมอเตอร์การใช้งานสามารถแบ่งได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่ การใช้งานต่อเนื่อง (Continuous duty) การใช้งานเป็นเวลาสั้น (Short time duty) และการใช้งานเป็นคาบ (Periodic duty) การใช้งานต่อเนื่อง หมายถึง การใช้งานโดยเดินเครื่องต่อเนื่องด้วยภาระที่ถือได้ว่าคงที่เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่าระยะเวลาที่มอเตอร์จะเข้าสู่สมดุลความร้อน การใช้งานเป็นเวลาสั้น หมายถึง การเดินเครื่องต่อเนื่องด้วยภาระที่ถือได้ว่าคงที่เป็นระยะเวลาที่กำหนดแต่ยังไม่ทำให้มอเตอร์เข้าสู่สมดุลความร้อนแล้วหยุดเครื่อง และก่อนที่จะสตาร์ตมอเตอร์อีกครั้งนั้นอุณหภูมิของมอเตอร์กับอุณหภูมิระบายอากาศมีผลต่างไม่เกิน 2°C

เครื่องกลไฟฟ้ากระแสตรง

/
เครื่องกลไฟฟ้ากระแสตรง หลักการทำงานของเครื่องกลไฟฟ้ากระแสตรงจากรูปที่ 1 เมื่อตัวนำความยาวด้านตั้งฉาก ℓ [m] เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว v [m/s] ผ่านสนามแม่เหล็กที่มีความหนาแน่นเส้นแรงแม่เหล็ก B [T] จะเกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้า E [V] ขึ้นในตัวนำตามกฎมือขวาของเฟลมมิ่ง

การให้ความร้อนด้วยความต้านทาน

/
การให้ ความร้อน ด้วยความต้านเป็นวิธีให้ความร้อนด้วยการใช้ประโยชน์จากการกำเนิดความร้อนด้วยปรากฏการณ์ Joule ของกระแสไฟฟ้าในวัตถุที่เป็นตัวนำไฟฟ้าที่ต่อกับแหล่งจ่ายไฟโดยตรง แบ่งเป็นวิธีให้ความร้อนทางอ้อมโดยถ่ายเทความร้อนที่เกิดขึ้นจาก Heating Element ไปยังวัตถุที่ต้องการให้ความร้อน กับวิธีให้ความร้อนความต้านทานโดยตรงซึ่งจะผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปในวัตถุที่ต้องการให้ ความร้อนโดยตรงเพื่อให้ความร้อน

Electrical Heater: วัสดุสำหรับอุปกรณ์ให้ความร้อนด้วยไฟฟ้า

/
Electrical Heater : วัสดุสำหรับอุปกรณ์ให้ความร้อนด้วยไฟฟ้าการทำความร้อนด้วยไฟฟ้า (Electrical Heater) มีวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องในการกำเนิดความร้อนหลายส่วนดังนี้1. ตัวกำเนิดความร้อน (heating Element)Heating Element หมายถึงวัตถุที่มีวัตถุประสงค์ในการกำเนิดความร้อนด้วยการให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านตัวมันเอง โดยทั่วไปคุณสมบัติหลักของวัสดุที่ใช้ทำ Heating Element ได้แก่

การให้ความร้อนด้วยการเหนี่ยวนำ

/
การให้ความร้อนด้วยการเหนี่ยวนำ เมื่อพันขดลวดรอบๆ วัตถุที่ต้องการให้ความร้อนดังรูปที่ 1 แล้วจ่ายไฟฟ้ากระแสสลับเข้าไปในขดลวดนี้ จะเกิดเส้นแรงแม่เหล็กเปลี่ยนแปลง (Alternate Magnetic Flux) ภายในวัตถุที่ต้องการให้ความร้อน ซึ่งจะเหนี่ยวนำให้เกิดกระแสไหลวนขึ้น หากวัตถุที่ต้องการให้ความร้อนสามารถนำไฟฟ้าได้ จะเกิดความร้อนของ Joule ขึ้นจากความต้านทานเฉพาะตัวของวัตถุนั้นกับกระแสไหลวนดังกล่าว ทำให้สามารถให้ความร้อนวัตถุได้

Design of power system (การออกแบบระบบไฟฟ้ากำลัง)

/
power system การอนุรักษ์พลังงานของระบบไฟฟ้า (power system) จะขึ้นอยู่กับการออกแบบ  การจัดการการใช้งานก็มีบทบาทที่สำคัญเช่นกัน  การจัดการพลังงานของระบบไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิผลจะต้องเข้าใจหลักการ ของการอนุรักษ์พลังงานตามเจตนารมณ์ของผู้ออกแบบ แล้วนำมาปฏิบัติในการจัดการการใช้งาน

ค่าเพาเวอร์แฟกเตอร์ (Power factor)

/
ค่าเพาเวอร์แฟกเตอร์ (Power factor)ในระบบจ่ายไฟฟ้ากำลังนั้นค่าเพาเวอร์แฟกเตอร์มีส่วนสำคัญอย่างยิ่ง แต่มีหลายครั้งที่ผู้ที่เกี่ยวข้อง ทั้งผู้ออกแบบระบบหรือผู้รับผิดชอบในการจ่ายไฟฟ้า อาจไม่ให้ความสำคัญมากนัก บทความนี้จะกล่าวถึงองค์ประกอบและการผลดีของการปรับปรุงเพาเวอร์แฟกเตอร์ให้มีค่าที่เหมาะสมกัน

การอนุรักษ์พลังงานในปั๊มน้ำและพัดลม

/
ปั๊มน้ำและพัดลม ดัชนีการใช้พลังงานเป็นพารามิเตอร์ที่สำคัญที่จะใช้บอกต้นทุนและปัญหาที่เกิดขึ้นกับปั๊มน้ำและพัดลม อุปกรณ์แต่ละตัวที่ทำงานร่วมกันจะมีประสิทธิภาพไม่เท่ากันเนื่องจากสึกหรอ การบำรุงรักษา รวมทั้งมอเตอร์อาจเกิดการไหม้และนำไปซ่อมมาใช้ใหม่ส่งผลให้ประสิทธิภาพของมอเตอร์ลดลง เป็นต้น ดังนั้นผู้ใช้งานควรเก็บข้อมูลและตรวจสอบดัชนีต่างๆ อย่างสม่ำเสมอเพื่อควบคุ้มค่าใช้จ่ายด้านพลังงานและหาแนวทางในการปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของอุปกรณ์ ดัชนีการใช้พลังงานของแต่ละระบบแสดงได้ดังต่อไปนี้

Energy Conservation of Air Compressor : การอนุรักษ์พลังงานในระบบอากาศอัด

/
ระบบอากาศอัด ดัชนีการใช้พลังงานเป็นสิ่งสำคัญที่จะบอกต้นทุนและปัญหาที่เกิดขึ้นกับเครื่องอัดอากาศ เครื่องอัดแต่ ละชุดที่ใช้งานร่วมกันจะมีประสิทธิภาพไม่เท่ากัน เนื่องจากการสึกหรอของอุปกรณ์ประกอบต่างๆและขาดการบำรุงรักษาที่ดีดังนั้นผู้ใช้งานควรเก็บข้อมูลและตรวจสอบดัชนีอย่างสม่ำเสมอ เพื่อควบคุมค่าใช้จ่ายด้านพลังงานไฟฟ้าและหาแนวทางในการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ

การอนุรักษ์พลังงานในระบบปรับอากาศแบบแยกส่วน (Split Type)

/
ระบบปรับอากาศแบบแยกส่วน (Split Type)ดัชนีการใช้พลังงานผู้ใช้ระบบปรับอากาศต้องตรวจสอบสมรรถนะของระบบและอุปกรณ์ที่ใช้พลังงานในระบบอย่างสม่ำเสมอ เพื่อใช้เปรียบเทียบกับสมรรถนะความสามารถเดิมว่าลดลงเท่าใด แล้วจึงหาแนวทางในการปรับปรุงเพื่อเพิ่มสมรรถนะหรือทำการเปลี่ยนเครื่องใหม่ค่าสมรรถนะการทำความเย็นคือ ค่าพลังไฟฟ้าที่เครื่องปรับอากาศใช้ต่อความสามารถในการทำความเย็น (kW/TR)

การอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ำ

/
หม้อไอน้ำ แต่ละชุดและอุปกรณ์ไอน้ำแต่ละชุดจะมีดัชนีที่แตกต่างกัน เนื่องจากประสิทธิภาพต่างกัน ดังนั้นเพื่อเป็นการติดตามให้การทำงานของหม้อไอน้ำเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพควรตรวจสอบดัชนีอย่างสม่ำเสมอเพื่อควบคุมค่าใช้จ่ายด้านเชื้อเพลิง ดัชนีชี้วัดการใช้พลังงานของหม้อไอน้ำมีรายการดังต่อไปนี้ความสามารถผลิตไอน้ำสมมูล คือ ความสามารถในการผลิตไอน้ำจริง (ตัน/ชั่วโมง)